ประกาศรับสมัครงานล่าสุด
ข่าวสารและสาระน่ารู้

ข้อ 1. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของผู้รักษาราชการแทน1) มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งตนแทน2) สามารถมอบอำนาจให้ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทนได้3) เหตุในการมีผู้รักษาราชการแทนมาจากกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งนั้นหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้4) เป็นการรับมอบอำนาจมาจากผู้บังคับบัญชาให้ปฏิบัติราชการตามที่ได้รับมอบหมาย ข้อ 2. กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เป็นกฎหมายที่มุ่งวางหลักประกันความเป็นธรรมทั้งด้าน สารบัญญัติและวิธีสบัญญัติในการพิจารณาทางปกครองจากข้อความข้างต้น ข้อใดกล่าวถูกต้อง1) หลักฟังความทุกฝ่าย เป็นหลักสารบัญญัติ2) หลักการให้เหตุผลในคำสั่งทางปกครอง เป็นหลักวิธีสบัญญัติ3) หลักการพิจารณาอุทธรณ์สองชั้น เป็นหลักสารบัญญัติ4) หลักเจ้าหน้าที่ผู้แสวงหาข้อเท็จจริง เป็นหลักวิธีสบัญญัติ ข้อ 3. หากเจ้าหน้าที่ของรัฐนำผลความสำเร็จของการปฏิบัติงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ถือว่าไม่ประพฤติปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมข้อใด1) ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสำนึกที่ดี2) มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน3) ดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดี4) คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน เฉลยและคำอธิบาย ข้อ 1. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของผู้รักษาราชการแทนเฉลย: 4) เป็นการรับมอบอำนาจมาจากผู้บังคับบัญชาให้ปฏิบัติราชการตามที่ได้รับมอบหมายเหตุผล: ผู้รักษาราชการแทนนั้นเกิดขึ้นในกรณีที่ตำแหน่งนั้นว่างลง หรือผู้ดำรงตำแหน่งไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ ไม่ใช่การรับมอบอำนาจตามปกติจากผู้บังคับบัญชา ข้อ 2. กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เป็นกฎหมายที่มุ่งวางหลักประกันความเป็นธรรมทั้งด้าน สารบัญญัติและวิธีสบัญญัติในการพิจารณาทางปกครองจากข้อความข้างต้น ข้อใดกล่าวถูกต้องเฉลย: 4) หลักเจ้าหน้าที่ผู้แสวงหาข้อเท็จจริง เป็นหลักวิธีสบัญญัติเหตุผล: • หลักสารบัญญัติ คือ หลักเกณฑ์เนื้อหาหรือสิ่งที่ต้องปฏิบัติ เช่น สิทธิ หน้าที่ […]

ข้อที่ 1 ความร้อน : ไฟ : : ? : : ?ก. ความมุ่งมั่น ความอดทนข. ความเกียจคร้าน ความฟุ่มเฟือยค. ความสำเร็จ ความพยายามง. ความปลอดภัย ความประมาท ข้อที่ 2 คน : อาหาร : : ? : ?ก. ต้นไม้ ปุ๋ยข. ดิน หญ้าค. น้ำ รากง. ใบ กิ่ง ข้อที่ 3 เต้าเจี้ยว : ถั่วเหลือง : : ? : ?ก. ข้าว เกลือข. น้ำเชื่อม น้ำตาลค. นม ขนมง. น้ำปลา ซีอิ๊ว ข้อที่ 4 สะใภ้ : พี่ : : ? : ?ก. ย่า […]

ดาวน์โหลดไฟล์ : พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไป หรือที่เรียกกันว่า การสอบภาค ก. จะมีด้วยกันทั้งหมด 3 รูปแบบ ได้แก่ 1. การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถประจำปี (Paper & Pencil) 2. การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Exam) 3. การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไปสำหรับส่วนราชการต่าง ๆ (ภาค ก. พิเศษ) วิชาที่ใช้ในการสอบ ได้แก่ 1. วิชาความสามารถและการคิดวิเคราะห์ 100 คะแนน ระดับต่ำกว่าปริญญาตรีและระดับปริญญาตรี ต้องสอบได้คะแนนมากกว่า 60% และระดับปริญญาโท ต้องสอบได้คะแนนมากกว่า 65% 2. วิชาภาษาอังกฤษ 50 คะแนน ทุกระดับต้องสอบได้คะแนนมากกว่า 50% 3. วิชาความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี 50 คะแนน ทุกระดับต้องสอบได้คะแนนมากกว่า 60% อ้างอิง : https://www.ocsc.go.th/?post_type=news&p=91084